แผนหน่วยมะม่วง

แผนหน่วยมะม่วง (วันศุกร์)

สอบสอนหน่วยมะม่วง วันศุกร์

สอบสอนหน่วยมะม่วง วันศุกร์

วันอังคารที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 15 วันที่ 19 มีนาคม 2555

       ความรู้สึกเกี่ยวกับการสอบสอนแผน  หน่วยมะม่วง  (วันศุกร์) 

       วันนี้ดิฉันรู้สึกตื่นเต้นมากมากในการสอบสอน  การสอนครั้งนี้ทำให้ได้รับความรู้มากมาย  ได้ฝึกพัฒนาตนเอง  ได้ข้อคิดข้อแนะนำจากอาจารย์ในส่วนที่ตัวเองสอนผิดพลาดหรือขาดตกบกพร่องไป  เพื่อที่จะได้นำไปปรับใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชาต่อไป  และสิ่งที่สำคัญดิฉันยังได้เห็นเทคนิคและวิธีการสอนของเพื่อนๆ  ที่หลากหลาย  เพื่อที่จะนำไปเป็นแนวทางในในการสอนครั้งต่อไป
       สุดท้ายนี้ต้องขอขอบคุณอาจารย์จ๋าที่ให้ข้อคิดคำแนะนำ  เรื่องการเขียนแผนและสอบสอนแผนในวันนี้มากคะ

       สื่อการสอน  หน่วยมะม่วง 



       ส่วนผสมของมะม่วงดอง 








วันจันทร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 14 วันที่ 6 มีนาคม 2555

      สวัสดีอาจารย์ที่เคารพและเพื่อนๆนะค่ะ  บรรยากาศในวันนี้ไม่ร้อนไม่หนาว  เหมาะแก่การเรียนมากค่ะ

       การเรียนการสอน 

- อาจารย์นัดสอบสอนวันอาทิตย์  ที่  11  เดือนมีนาคม  พ.. 2555  เวลา  13.00 – 16.30  .
- มารับข้อสอบวันที่สอบสอน  และกำหนดให้ส่งวันที่  16  เดือนมีนาคม  พ..  2555
- นัดตรวจบล็อกวันที่  22  เดือนมีนาคม  พ..  2555
       
       อาจารย์ให้ดูตัวอย่างแผนการสอน 
 
       Project  Approach 
       เรื่อง……รถยนต์
       กรอบพัฒนาการและกิจกรรม
       - ด้านร่างกาย
>> ตัดภาพ  /  ตัดกระดาษ
>> ปั้นแป้ง
>> ประดิษฐ์รถจำลอง  (โมเดล)
>> ศิลปะร่วมมือ  ภาพเส้นทางจราจร
>> สร้างถนนจำลอง  (บล็อก)
>> พิมพ์ภาพ
>> เสก็ตภาพรถ
       - ด้านสังคม
>> ร้องและเต้นประกอบเพลง
>> เล่นบทบาทสมมุติ
>> จัดโชว์รูมขายรถ
>> สนุกกับการนั้งรถเล่น
>> ประดิษฐ์โมเดลรถร่วมกัน
       - ด้านอารมณ์ จิตใจ
>> ร้องและเต้นประกอบเพลง
>> สนุกสนานกับการฟังนิทาน
>> เล่นบทบาทสมมุติ
>> จัดโชว์รูมขายรถ
>> สนุกกับการนั่งรถเล่น
       - ด้านสติปัญญา
>> กิจกรรมสำรวจรถในโรงเรียน
>> กิจกรรมนับรถ  แยกประเภท
>> กิจกรรมทัศนศึกษา  ที่ศูนย์เบ๊นซ์ทองหล่อ
>> กิจกรรมสำรวจเครื่องยนต์
>> กิจกรรมสำรวจสีของรถ
       สิ่งที่เป็นวิทยาศาสตร์
- การเคลื่อนที่
- สิ่งที่อยู่รอบตัว
       สิ่งที่เป็นคณิตศาสตร์
- สัญลักษณ์
- สามเหลี่ยม
- วงกลม
- สี่เหลี่ยม
       ประสบการณ์เดิมของเด็กๆ
- เคยไปดูโชว์รถฮอนด้าที่คาร์ฟูร
- เคยเห็นรถแข็งในสนาม
- เจอรถสีเขียวที่ตลาด
- ผมไปจตุจักรไปซื้อสติกเกอร์รูปรถเก๋งสีขาว
       คำถามของเด็กๆ
- ทำไมรถมีเกียร์  (พี)
- ขับรถไปไหนได้บ้าง  (ทิซ่า)
- ทำไมรถเคลื่อนที่ได้  (แบ๊งก์)
- ทำไมต้องคาดเข็มขัดนิรภัย  (เจมส์)
- ทำไมรถจอดได้  (วุฒิ)
       ข่าวสารประจำหน่วย
- มีความรู้  และต้องไปปรากฏในกระบวนการจัดกิจกรรม  และสิ่งที่อยู่ในกิจกรรมต้องมีประสบการณ์สำคัญ
       ให้เด็กๆ  วาดภาพรถเก๋งที่ชอบ
       สนทนาและบันทึกคำตอบของลูก
- ถ้ารถเก๋งน้ำมันหมด  จะทำอย่างไร
- ส่วนประกอบของรถ  ส่วนใดทำให้ไฟหน้ารถติดสว่าง
- เด็กๆ  รู้จักรถยี่ห้อใดบ้าง
- ถ้าไม่มีทะเบียนรถ  จะเป็นอย่างไร
        แบบเตรียมการสอน
- ส่วนที่  ข้อมูลทั่วไป
- ส่วนที่  กิจกรรมตามตารางกิจวัตรประจำวัน
- ส่วนที่  สรุปเทคนิค  วิธีการจัดกิจกรรม  ฯลฯ  ที่ท่านเลือกใช้ในสัปดาห์นี้
- ส่วนที่  สรุปผลการปฏิบัติงานตามแบบเตรียมการสอน
- ส่วนที่  ภาคผนวก  (ระบุเฉพาะเพลงและคำคล้องจองที่เพิ่มจากหน่วยการเรียน

วันพุธที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 13 วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555

       สวัสดีอาจารย์ที่เคารพและเพื่อนๆนะค่ะ  วันนี้ดิฉันไม่ได้เข้าเรียน  เนื่องจากต้องไปศึกษาดูงานในรายวิชาการจัดประสบการณ์การเล่นกลางแจ้งสำหรับเด็กปฐมวัย  ของอาจารย์เหมียว  ที่โรงเรียนอนุบาลบ้านวาดฝัน  โดยอาจารย์บาสเป็นคนพาไป 

       ภาพกิจกรรมในห้องเรียน 




       ภาพกิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง 




       มอบของที่ระลึก 



วันศุกร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 12 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555

       สวัสดีอาจารย์ที่เคารพและเพื่อนๆนะค่ะ  บรรยากาศในวันนี้ไม่ร้อนไม่หนาว  เหมาะแก่การเรียนมากค่ะ

       การเรียนการสอน 

       อาจารย์ให้รวบรวมแผนเป็นกลุ่ม  แล้วไปพบอาจารย์ที่โต๊ะ  เพื่อที่อาจารย์จะได้ตรวจแผนและแนะนำส่วนที่ผิดหรือควรเสริมส่วนใดเข้าไปให้สมบูรณ์  เพื่อที่จะให้แผนมีความสอดคล้องกันทั้ง  วัน
       สิ่งที่อาจารย์แนะนำเกี่ยวกับแผนของดิฉัน
- คำคล้องจองให้นำไปใส่ในภาคผนวก
- เพิ่มการสนทนาโดยคำถามก่อนเข้าสู่กิจกรรม
- เพิ่มการเปรียบเทียบมะม่วงที่เก็บไว้โดยไม่ได้ดองกับมะม่วงที่ผ่านการดองไว้แล้วว่าเป็นอย่างไร
- ขั้นสรุป  ให้สรุปโดยให้เด็กบอกขั้นตอนการทำมะม่วง  และท่องคำคล้องจองพร้อมกันอีกครั้ง
       เมื่อตรวจแผนเสร็จแล้ว  อาจารย์ให้ทุกกลุ่มเขียนวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการสอน  เพื่อที่จะมาทำสื่อ  โดยอาจารย์เป็นคนจัดหาให้

       แผ่น เรื่องมะม่าว (การถนอมอาหาร)  วันศุกร์ 




วันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 11 วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555

       สวัสดีอาจารย์ที่เคารพและเพื่อนๆนะค่ะ  บรรยากาศในวันนี้ไม่ร้อนไม่หนาว  เหมาะแก่การเรียนมากค่ะ

       การเรียนการสอน 

       อาจารย์ให้เข้ากลุ่มตามแผนของตนเอง  และชี้แจงว่าต้องมีแผนของเพื่อนในกลุ่มทุกคนเพื่อที่จะเก็บไว้ดูเป็นแนวทางต่อไป
       อาจารย์บอกถึงงานที่ต้องส่งในแผนกลุ่ม
1. มายแม็บรวมของกลุ่ม
2. มายแม็บหัวข้อย่อยๆ  ของกลุ่ม แตกเป็นด้าน  เช่น  อารมณ์ จิตใจ  สติปัญญา  กาย
3. มายแม็บของกลุ่ม    แตกเป็น  กิจกรรมหลัก
4. แผนเก่าของแต่ละคน
5. แผนใหม่ของแต่ละคน
       อาจารย์ให้ทุกกลุ่มบอกแผนของตนเองจนครบ  วัน  และมีคำแนะนำดังนี้
       ขั้นนำ
- นำโดยคำคล้องจอง  คือ  เด็กจะได้เรียนรู้เรื่องสัมผัสที่ไพเราะ
- นำโดยจิ๊กซอ  คือ  เด็กจะได้ทำกิจกรรมผ่านการเล่น
- นำโดยนิทาน  คือ  จะทำให้เด็กจำได้ง่าย  และนิทานต้องไม่ยาวจนเกินไป
- นำโดยเพลง  คือ  เพลงจะทำให้เด็กสนุกสนานและจำได้ง่าย  ต้องเป็นเพลงที่ไม่ยาวจนเกินไป  ถ้ายาวจะทำให้เด็กจำไม่ได้
- เสร็จแล้วครูใช้คำสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหา  ในคำคล้องจอง  นิทาน  หรือเพลง
       ขั้นสอน
- สนทนาโดยใช้คำถามนำก่อนกิจกรรม
- ทำกิจกรรมโดยให้เด็กมีส่วนร่วม
       ขั้นสรุป
- สรุปโดยมายแม็บ
- สรุปเป็นตาราง
- สรุปโดยทวนขั้นตอนการทำกิจกรรม
_ สรุปโดย  ท่องคำคล้องจอง  หรือร้องเพลง  อีกครั้ง

วันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 10 วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2555

       สวัสดีอาจารย์ที่เคารพและเพื่อนๆนะค่ะ  บรรยากาศในวันนี้ไม่ร้อนไม่หนาว  เหมาะแก่การเรียนมากค่ะ
       
       การเรียนการสอน 

       วันนี้อาจารย์พูดถึงกิจกรรมกีฬาสี  ว่าสิ่งที่ต้องเตรียมมาของแต่ละสี  คือ
- กลอง
- โทราโข่ง
       อาจารย์พูดถึงการเขียนแผนแล้วสอน  ตัวอย่างหน่วยนม
       ขั้นนำ
- เริ่มต้นด้วยทักทาย  แล้วสงบเด็ก  คือทำให้เด็กสนใจ  เช่น  ให้เด็กปรบมือ  ครั้ง
- ท่องคำคล้องจอง
- เด็กๆ  ว่าในคำคล้องจองนมผลิตจากอะไรบ้าง
       ขั้นสอน
- ให้เด็กดูภาพดึงนมวัว  ดึงแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้น
- เด็กๆ  เห็นไม่ค่ะอันนี้คือนมอะไร  นำมาให้เด็กดู
- ทดลองให้เด็กชิม
- เด็กๆ  นับดูซิว่านมกี่แก้ว
- ให้เด็กไปหยิบเลขแล้วมาวางตามจำนวนแก้วนม
- คุณครูให้เด็กแยกกลุ่มนมจากพืชไปไว้ที่อื่น
       สอดคล้องกับคณิตศาสตร์  คือ
- การนับและบอกจำนวนพร้อมระบุตัวเลขอาราบิก
- การแยกประเภท

วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 9 วันที่ 31 มกราคม 2555

       สวัสดีอาจารย์ที่เคารพและเพื่อนๆนะค่ะ  บรรยากาศในวันนี้ไม่ร้อนไม่หนาว  เหมาะแก่การเรียนมากค่ะ

       การเรียนการสอน 

       อาจารย์ให้ส่งงานที่มอบหมายไปในอาทิตย์ที่แล้ว

       ชิ้นงานของดิฉัน 



       คณิตศาสตร์  คือ
- คำศัพท์คณิตศาสตร์เป็นเรื่องที่สำคัญ  อาจใช้คำว่า  ลำดับที่  ,  แรก
- คำศัพท์คณิตศาสตร์มีอยู่ในชีวิตจริง
       อาจารย์ให้มองงานที่ส่งไป  ( แล้วนึกถึงอะไร )
- ครอบครัว
- ผลงาน
- อาหาร
- สิ่งที่เกี่ยวกับเด็ก
- พฤติกรรมเด็ก
- พัฒนาการเด็ก
- กิจวัตรประจำวัน
- การเล่น
       >> การถามคำถามปรายเปิด  เช่น  มีอะไรบ้าง  เคยเห็นที่ไหนบ้าง
- เด็กจะได้ฝึกคิด  คือ  คิดวิเคราะห์  คิดสังเคราะห์  คิดเชิงคณิตศาสตร์ 
- กล้าแสดงออกอย่าอิสระ
- มีความเชื่อมั่น
       >> ที่ไหนบ้าง  คือ  เด็กจะได้รวบรวมประสบการณ์  ระยะทาง  ทิศทาง  ใช้เวลาเท่าไร
       >> ทำอย่างไร  คือ  เด็กจะต้องอธิบายว่าทำอย่างไร  มีลำดับขั้น
       >> กับใคร  คือ  ใครบ้าง  ไปกี่คน
       >> มีอะไรบ้าง  คือ  เด็กจะได้ฝึกคิดแล้วคิดว่ามีเท่าไร
       >> พบเห็นได้เมื่อไหร่  คือ  จะเกี่ยวข้องกับเวลา  ฤดูกาล
       >> ประสบการณ์ทางร่างกาย  คือ  สิ่งที่เด็กลงมือกระทำ
       >> ประสบการณ์ทางอารมณ์  /  จิตใจ  คือ  การแสดงออกทางอารมณ์  รับรู้อารมณ์ของตนเอง
       >> ประสบการณ์ทางสังคม  คือ  การอยู่ร่วมกับผู้อื่น  ช่วยเหลือและดูแลตนเอง
       >> ประสบการณ์ทางสติปัญญา  คือ  การคิดและภาษา
       ประสบการณ์สำคัญกับสาระที่ควรรู้
- หลักสูตร  คือ  แนวทางในการจัดประสบการณ์  ซึ่งประกอบไปด้วยประสบการณ์หลายๆ  ประสบการณ์  โดยครูวางแผนและเกิดขึ้นโดยที่เด็กอยากรู้กะทันหัน  โดยการให้เด็กลงมือกระทำ  เพื่องส่งเสริมพัฒนาการทั้ง  ด้าน
- การเรียนรู้  คือ  การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
- การรับรู้  คือ  รับมา  แล้วเก็บซึมซับไว้
- มาตรฐานการเรียนรู้  คือ  เกณฑ์ขั้นต่ำในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม  ทางด้านคณิตศาสตร์
       
       มาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 


       สาระที่  1  :  จำนวนและการดำเนินการ
1.1 การเข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน  และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน  คือการนับ
1.2 การอ่านตัวเลขอินดูอาราบิก  ,  เลขไทย
1.3 เปรียบเทียบ  จำนวนเท่ากันไม่เท่ากัน  มากกว่าน้อยกว่า  มากที่สุดน้อยที่สุด
1.4 เรียงลำดับจำนวน
1.5 การรวมกลุ่มและแยกกลุ่ม
- การรวม  คือ  การบวกหรือการเพิ่มขึ้น
- การแยก  คือ  ทำให้ลดลง